-
สังคมทูเดย์
หมวด หมวดหนังสือพิมพ์, โดย Online, วันที่ 15 พ.ค. 2560
» โดย...อสนีบาต aussaneebard@hotmail.comส่งเสริมการสร้างวินัยสังคม อยู่ในมือคุณผู้อ่านแล้วครับ......เปิดวันทำการต้อนรับเปิดเทอมผู้ปกครองส่งบุตรหลานไปโรงเรียน ยวดยานพาหนะคับคั่งท้องถนนขับรถด้วยความระมัดระวัง อีกทั้งฝนฟ้าคะนองดูแลสุขภาพกันให้ดี......เผลอแผล็บ รัฐบาล คสช. บริหารราชการแผ่นดินจะครบ 3 ปี ถือว่านานพอสมควรช่างสวนทางบทเพลงคืนความสุขให้ประเทศไทย “จะขอเวลาอยู่อีกไม่นาน” ดีไม่ดีจะอยู่ครบ 4 ปี ตามวาระที่รัฐธรรมนูญเคยกำหนดเหมือนรัฐบาลพลเรือนซะนี่......อย่างที่ทราบเหตุของการลากยาว มาจากสมาชิกสภาปฏิรูปประเทศ (สปช.) ลงมติคว่ำร่างรัฐธรรรมนูญฉบับบวรศักดิ์ อุวรรณโณ จึงต้องนับหนึ่งใหม่ด้วยการให้อำนาจ คสช.แต่งตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ภายใต้การนำของมีชัย ฤชุพันธุ์ ทำการยกร่าง รธน.กระทั่งผ่านการลงประชามติ และมีผลประกาศใช้เมื่อ พ.ศ. 2560 นี่เอง......3 ปีรัฐบาล คสช.ก่อเกิดผลงานคืนความสุขให้ประเทศไทยตามชื่อเพลง คสช. อย่างไรบ้างหากประเมินจากสถาบันโพลต่างๆ สำรวจผลการทำงานพบว่าส่วนใหญ่พึงพอใจให้คะแนนสอบผ่าน......แต่สิ่งที่ประชาชนอยากได้ยินตามที่สวนดุสิตโพลสำรวจ อยากฟังรัฐบาลแจกแจงแนวทางกระตุ้นเศรษฐกิจ
-
'มีชัย'แจง19เดือนเลือกตั้ง
หมวด หมวดหนังสือพิมพ์, โดย Online, วันที่ 05 เม.ย. 2560
» เตรียมส่งกฎหมายลูกให้สนช.18เม.ย. ประยุทธ์ไฟเขียวสปท.ลาออกลงสมัครสส.ประธาน กรธ. ยันกรอบเวลาทำกฎหมายลูก 8 เดือน หากรวมทุกขั้นตอนกว่าจะเลือกตั้งอาจต้องใช้เวลานาน 19 เดือน นายมีชัย ฤชุพันธุ์ ประธานกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) เปิดเผยว่า หลังรัฐธรรมนูญประกาศใช้ การจัดทำ พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ 10 ฉบับ จะอยู่ในกรอบเวลา 8 เดือน ส่วนร่าง พ.ร.บ.ว่าด้วยพรรคการเมือง และร่าง พ.ร.บ.ว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง จะส่งให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ในวันที่ 18 เม.ย. ส่วนฉบับอื่นๆ จะส่งให้ สนช.พิจารณาเดือนละฉบับต่อไป “หากนับเวลาการทำกฎหมายลูกแบบเต็มเหยียดคือ 8 เดือน จากนั้นต้องบวกเวลา 60 วันเพื่อให้ สนช.พิจารณา และหากมีปัญหาโต้แย้งกันต้องใช้เวลาพิจารณาประมาณ 30 วัน หากไม่มีปัญหาโต้แย้งกันก็นำความกราบบังคมทูล และรอเวลาโปรดเกล้าฯ ภายใน 90 วัน จากนั้นเมื่อกฎหมายใหม่ประกาศใช้ องค์กรต่างๆ ก็เริ่มต้นทำงานไป จากนั้นต้องบวกเวลา 150 วันสำหรับการจัดการเลือกตั้ง รวม 19 เดือน” นายมีชัย กล่าวสำหรับมาตรา 44 ที่รัฐธรรมนูญใหม่ให้การรับรองไว้นั้น มีเพียงเพื่อแก้ปัญหาที่มันขัดข้อง แต่ต้องไม่ขัดกับหลักการสำคัญของรัฐธรรมนูญใหม่ หรื
-
ทันสถานการณ์
หมวด หมวดหนังสือพิมพ์, โดย Online, วันที่ 10 มี.ค. 2560
» ต้องใช้กลไกพิเศษเพื่อปราบโกงนายมีชัย ฤชุพันธุ์ ประธานคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) เปิดเผยว่า เรื่อง พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ที่ให้การพิจารณาลับหลังจำเลยได้นั้นเพราะนักการเมืองถือเป็นกรณีพิเศษ เพราะผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองมีอำนาจ เวลาทำอะไรผิดจะกระทบบ้านเมืองอย่างรุนแรง ถ้าใช้กระบวนการปกติจะดูแลผลประโยชน์ของประเทศชาติได้ยาก จึงสร้างกลไกดังกล่าวขึ้นมา และการพิจารณาคดีลับหลังได้ก็จะเป็นประโยชน์มากกว่า เพราะพยานยังสดอยู่ ผิดก็ผิด ถูกก็ถูก กกต.สั่งปรับแนวทางดูงาน ตปท.นายสมชัย ศรีสุทธิยากร กรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) เปิดเผยว่า กกต.ได้ให้แนวทางกับผู้รับผิดชอบหลักสูตรพัฒนาการเมืองและการเลือกตั้งระดับสูง (พสต.) ไปปรับแนวทางการเดินทางไปดูงานใหม่ โดยประเทศที่จะไปดูงานต้องเลือกประเทศอาเซียนบวก 3 เป็นหลัก เพื่อสอดคล้องกับมติคณะรัฐมนตรี ขณะที่การดูงานควรเกี่ยวข้องกับการจัดเลือกตั้งและการดูงานต้องทำรายงานจากการศึกษาข้อเท็จจริง รวมทั้งต้องมีข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม บีบีซีขอเลิกใช้ไทยเป็นฐานส่งสัญญาณพล.ท.สรรเสริญ แก้วกำเนิด โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า
-
ทันสถานการณ์
หมวด หมวดหนังสือพิมพ์, โดย Online, วันที่ 04 มี.ค. 2560
» พท.เสนอปรองดอง 8 มี.ค.พล.ต.คงชีพ ตันตระวาณิชย์ โฆษกกระทรวงกลาโหม ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการด้านการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความสามัคคีปรองดองในชุดคณะกรรมการเตรียมการเพื่อสร้างความสามัคคีปรองดอง เปิดเผยว่า ในวันที่ 8 มี.ค. เวลา 09.00-12.00 น. จะเชิญพรรคเพื่อไทยเข้าร่วมเสนอแนวทางปรองดอง ส่วนจะเป็นรักษาการหัวหน้าพรรค หรือแกนนำพรรค ยังไม่อยากระบุในรายละเอียด เกรงว่าจะเกิดความผิดพลาด พร้อมกันนี้ได้กำหนดจังหวัดที่จะไปรับฟังความเห็นเรื่องการสร้างแนวทางปรองดองเรียบร้อยแล้วกรธ.หนุน ปปช.ภาคนายมีชัย ฤชุพันธุ์ ประธานกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) เปิดเผยว่า หลังจากเชิญคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)เข้ารับฟังความเห็นต่อร่างกฎหมาย ป.ป.ช. ยังไม่ได้ข้อยุติเรื่องการยุบ ป.ป.ช.จังหวัด เพราะ ป.ป.ช.คิดว่ายังมีประโยชน์ จึงอาจจะมีการพูดคุยอีกครั้งเพื่อเปลี่ยนแปลง ซึ่ง กรธ.มีแนวคิดใช้ระบบการป้องกันการทุจริตเป็นจังหวัด ส่วนการปราบปรามการทุจริตอาจแบ่งเป็นภาค เพื่อให้ดำเนินการในคดีใหญ่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพร้องบิ๊กตู่นายทุนรุกที่ชุมพรนายสันติ หอมละออ กำนัน ต.บางลึก อ.เมือง จ.ชุมพร พร้อมด้วยชาวบ้านจำนวนกว่า 50 คน ยื่
-
ประเด็นร้อน
หมวด หมวดหนังสือพิมพ์, โดย Online, วันที่ 24 พ.ย. 2559
» 1.ภายหลังนายมีชัย ฤชุพันธุ์ ประธานกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) เผยร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ (พ.ร.ป.) ว่าด้วยพรรคการเมืองพิจารณาเสร็จสิ้นแล้ว จึงเป็นที่จับตาว่า ร่างกฎหมายฉบับดังกล่าวจะมีผลกระทบต่อพรรคการเมืองอย่างไรบ้าง ต้องติดตามการแถลงวันนี้
-
ค้นหารูปภาพ สำหรับ " นายก "
-
'มีชัย' จบภารกิจร่างรธน. เงาคสช.คลุมการเมือง 5 ปี
หมวด การเมือง, โดย Online, วันที่ 14 ต.ค. 2559
» เสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้วสำหรับการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญภายใต้เดี่ยวมือหนึ่งที่ชื่อ "มีชัย ฤชุพันธุ์" ประธานกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.)
-
ค้นหาวิดีโอ สำหรับ " นายก "
-
รมว.คมนาคม ชี้รัฐลงทุนโครงสร้างพื้นฐานช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจระยะยาว
โดย Post Today
โพสต์เมื่อ 19 ต.ค. 2558
-
งานโพสต์ฟอรัม 2015 "ร่วมสร้างเศรษฐกิจไทย พูดคุยกับทีมเศรษฐกิจใหม่"
โดย Post Today
โพสต์เมื่อ 20 ต.ค. 2558
-
-
การเมืองแผ่ว นับถอยหลังรอ เลือกตั้ง'60
หมวด การเมือง, โดย Online, วันที่ 09 ก.ย. 2559
» เส้นทางสู่การเลือกตั้งชัดเจนขึ้นเรื่อยๆ หลังร่างรัฐธรรมนูญฉบับ มีชัย ฤชุพันธุ์ ประธานกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ผ่านประชามติ
-
จุดรวมพล
หมวด หมวดหนังสือพิมพ์, โดย Online, วันที่ 29 ส.ค. 2559
» เวลานี้เนื้อเพลง “เจ็บนี้...อีกนาน เจ็บนี้...ไม่ลืม เจ็บลึก...กว่าเคย เจ็บช้ำ...กว่าใคร” กำลังฮิตในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) หลังจากคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ของ“มีชัย ฤชุพันธุ์” ไม่สนความหวังดีของ สนช. ที่เห็นควรให้ สว.มีสิทธิร่วมเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีต่อที่ประชุมใหญ่รัฐสภา โดย กรธ.ยืนยันให้ สว.มีหน้าที่แค่มายกมือโหวตเท่านั้น มติของกรธ.เล่นเอา สนช.เจ็บลึกกันทั้งสภา เพราะทีแรกนึกว่าบิ๊ก คสช.จะช่วยได้ แต่ไปๆ มาๆ เจอคนที่บิ๊กกว่าใน คสช.มาหนุนหลัง กรธ.เป็นอันว่าจบงานนี้คงรู้กันแล้วนะว่าใน คสช.ใครใหญ่สุด...
-
คนดังแห่ลงประชามติ
หมวด การเมือง, โดย Online, วันที่ 07 ส.ค. 2559
» บรรยากาศการออกเสียงประชามติในวันที่ 7 สิงหาคม มีบุคคลสำคัญและประชาชนจำนวนมากเดินทางมาใช้สิทธิ์กันอย่างคึกคัก เช่น พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี,ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี,มีชัย ฤชุพันธุ์ ประธานกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ เป็นต้น
-
ยอมรับร่วมเดินหน้า
หมวด หมวดหนังสือพิมพ์, โดย Online, วันที่ 07 ส.ค. 2559
» ไม่ว่าผลประชามติวันที่ 7 ส.ค.นี้ จะออกมารับหรือไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับอาจารย์มีชัย ฤชุพันธุ์
ประวัติการใช้งาน
-
คำที่เคยค้นหา
-
การเข้าชมที่ผ่านมา